วันพฤหัสบดีที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2552

สัปดาห์ที่ 16 1 ก.ย. 52

1. บริการ บำรุง ซ่อม เครื่องคอมพิวเตอร์ในวิทยาลัย
2.อ่านคำศัพท์ภาษาอังกฤษเพื่อเป็นความรู้

วันอังคารที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2552

สัปดาห์ที่ 15 วันที่ 25 สิงหาคม 2552

อ่านส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์เป็นภาษาอังกฤษ
1.Hardware
2.Software
3.Peopleware
4.Procudure
5.Data

สัปดาห์ที่ 14 วันที่ 18 สิงหาคม 2552

1. ลงWindow ใหม่
2.ลง โปรแกรม Microsoft Office
3.ลงโปรแกรม Nod 32 Antiviruse

จำนวน 2 เครื่อง

สัปดาห์ที่ 13 วันที่ 11 สิงหาคม 2552

Present งานบริษัท
เรื่อง เมนบอร์ด เคส พาวเวอร์ซัพพลาย UPS

สัปดาห์ที่ 12 วันที่ 4 สิงหาคม 2552

แก้ไขงาน เรื่อง เมนบอร์ด เคส พาวเวอร์ซัพพลาย UPS

สัปดาห์ที่ 11 เมนบอร์ด เคส พาเวอซัพพลาย UPS

วันพุธที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

สัปดาห์ที่10 14/ก.ค./52 ทิศของเมนบอรด์และHarddisk



ทิศทางของเมนบอร์ด

วิธีสังเกตุMainboardว่าทางไหนทิศเหนือทางไหนทิศใต้แต่ละทิศทำหน้าที่อะไรโดยทั่วไปแล้ว Northbridge คือชิพที่ทำหน้าที่ควบคุมการติดต่อระหว่าง CPU, RAM, AGP หรือ PCI Express และ Southbridge(ยกเว้น CPU รุ่นใหม่ ๆ บางตัวที่รวมการทำงานบางส่วนเข้าไปใน CPU แล้ว)Northbridges บางตัวก็ฝัง Video controllers เข้าไปด้วยเลยซึ่งคือ "การ์ดจอออนบอร์ด" ที่มักจะเรียกกันบ่อยส่วน Southbridge คือชิพจัดการ input/output (I/O) เช่น USB, Serial, audio, Integrated Drive Electronics (IDE), PCI, ISA

ทิศเหนือ ( Northern Bridge )
จากแผนภาพข้างบนจะเห็นว่า อุปกรณ์ที่เข้ามาต่อกับ VT82C589AT โดยตรงได้แก่ Host Master หรือซีพียู (ในคอมพิวเตอร์ ถือว่าตัวที่ทำหน้าที่เป็นตัวหลักในการควบคุมการประมวลผลคือซีพียู) และ VGA Card หรือ AGP Card หน่วยความจำหลัก และหน่วยความจำแคช (Static RAM) และ Slot สำหรับต่ออุปกรณ์ต่างๆ ที่ต่อผ่าน PCI Bus ทั้งหมดนั้นต้องถูกควบคุมผ่านสะพานทิศเหนือ สังเกตได้ว่า Northern Bridge นั้นเป็น Chipset หลัก ที่ทำหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์หลักๆ ของคอมพิวเตอร์ การเรียกชื่อ Chipset นี้จะเรียกเป็นชื่อที่ผู้ผลิตตั้งขึ้นมาเอง อย่างเช่น VIA เรียก Chipset ข้างบนว่า MVP3 แต่ถ้าเป็นกรณีของ Intel จะเรียกเฉพาะชื่อย่อ ถ้าหากสังเกตที่ตัว Chipset จะมีโค๊ดหรือรหัสยาวหลายตัว เช่น FW82443LX แต่ Intel เรียกว่า 440LX เท่านั้น

ทิศใต้ ( Southern Bridge )
ควบคุมอุปกรณ์ต่อพ่วง (Peripheral Devices) Harddisk, CD-ROM Drive , USB และ ACPI Controller (ดูแผนภาพประกอบ) รวมทั้งควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ที่ต่อเชื่อมกับ ISA Bus ด้วย หน้าที่เพิ่มอีกอย่างหนึ่งของ Southern Bridge คือเป็นตัวควบคุม Power Management ControllersABIT IP35 PRO OFF LIMITS เป็นเมนบอร์ดที่รองรับการทำงานของซีพียูซ็อกเก็ต LGA775 สามารถรองรับการทำงานของซีพียูที่ใช้ FSB ตั้งแต่ 800MHz 1066MHz ไปจนถึง 1333MHz ซึ่งหมายความว่าซีพียูที่จะนำมาใช้กับเมนบอร์ดรุ่นนี้ก็จะต้องเป็นรุ่นที่ใหม่อยู่สักหน่อยเพราะต้องใช้ FSB ที่มีความเร็ว 800MHz ขึ้นไปทางด้านหน่วยความจำเมนบอร์ดรุ่นนี้ยังคงใช้หน่วยความจำแบบ DDR2 โดยรองรับหน่วยความจำได้สูงสุดถึง 8GB พร้อมทั้งรองรับการทำงานในแบบ Dual Channel สำหรับความเร็วของหน่วยความจำที่จะนำมาใช้กับเมนบอร์ดรุ่นนี้ก็เริ่มต้นที่ DDR2-667 และ DDR2-800ชิปเซต P35 ที่ใช้นั้นจะรองรับการทำงานของกราฟิกการ์ดแบบ CrossFire ด้วย และบนเมนบอร์ดรุ่นนี้ก็มีสล๊อต PCI-Express x16 มาให้ถึงสองช่อง เพื่อให้เราสามารถใส่กราฟิกการ์ดของ ATi ที่รองรับเทคโนโลยี CrossFire ได้ และถ้าสังเกตดูจะเห็นว่าระยะห่างของสล๊อต PCI-Express x16 ทั้งสองช่องก็มีการเว้นระยะไว้พอสมควร ทำให้สามารถติดตั้งกราฟิกการ์ดที่มีฮีตซิงค์ใหญ่ๆ ได้อย่างสบายชุดระบายความร้อนของเมนบอร์ดรุ่นนี้ก็ถือว่ามีมาอย่างครบสูตรไม่ว่าจะเป็นส่วนของชิปเซตทั้งนอร์ธบริดจ์เซาธ์บริดจ์และส่วนของภาคจ่ายไฟของซีพียู โดยเฉพาะฮีตซิงค์็ตรงชิปนอร์ธบริดจ์นั้นมีขนาดใหญ่โตพอสมควรทำให้เราไม่ต้องกังวลเรื่องความร้อนเมื่อทำการโอเวอร์คล๊อก FSB ไปที่ความเร็วสูงๆ เพราะเมื่อเราทำการปรับ FSB ไปสูงๆ นั้นเราก็อาจจะต้องทำการเพิ่มแรงดันให้กับชิปนอร์ธบริดจ์ด้วยเหมือนกันนอกเหนือไปจากคุณสมบัติที่เกี่ยวข้องกับการโอเวอร์คล็อกแล้ว เมนบอร์ดรุ่นนี้ก็ยังมีคุณสมบัติที่น่าสนใจอีกหลายอย่างเช่น มีพอร์ต LAN จำนวนสองช่อง มี eSATA จำนวนสองช่อง มีสวิตช์สำหรับเคลียร์ไบออสอยู่ทางด้านหลัง ซึ่งทำให้เราไม่ต้องเปิดฝาเคสเวลาที่ต้องการเคลียร์ค่าในไบออสเป็นต้นMainboard1. ชุดชิพเซ็ต ชุดชิพเซ็ตเป็นเสมือนหัวใจของเมนบอร์ดอีกที่หนึ่ง เนื่องจากอุปกรณ์ตัวนี้จะมีหน้าที่หลักเป็นเหมือนทั้ง อุปกรณ์ แปลภาษา ให้อุปกรณ์ต่างๆ ที่อยู่บนเมนบอร์ดสามารถทำงานร่วมกันได้ และทำหน้าที่ควบคุม อุปกรณ์ต่างๆ ให้ทำงานได้ตามต้องการ โดยชิพเซ็ตนั้นจะประกอบด้วยชิพเซ็ตนั้นจะประกอบไปด้วยชิพ 2 ตัว คือชิพ System Controller และชิพ PCI to ISA Bridge North Bridge เป็นชิพที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของ อุปกรณ์หลักๆ ความเร็วสูงชนิดต่างๆ บนเมนบอร์ดที่ประกอบด้วยซีพียู หน่วยความจำแคชระดับสอง (SRAM) หน่วยความจำหลัก (DRAM) ระบบกราฟิกบัสแบบ AGP และระบบบัสแบบ PCI South Bridge จะทำหน้าที่เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกันระหว่างระบบบัสแบบ PCI กับอุปกรณ์อื่นๆ ที่มีความเร็วในการทำงานต่ำกว่าเช่นระบบบัสแบบ ISA ระบบบัสอนุกรมแบบ USB ชิพคอนโทรลเลอร์ IDE ชิพหน่วยความจำรอมไออส ฟล็อบปี้ดิกส์ คีย์บอร์ด พอร์ตอนุกรม และพอร์ตขนาน 2. หน่วยความจำรอมไบออส และแบตเตอรรี่แบ็คอัพไบออส BIOS (Basic Input Output System) หรืออาจเรียกว่าซีมอส (CMOS) เป็นชิพหน่วยความจำชนิด หนึ่งที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูล และโปรแกรมขนาดเล็กที่จำเป็นต่อการบูตของระบบคอมพิวเตอร์ ต้องการพลังงานไฟฟ้าเพื่อรักษาข้อมูลไว้ แบตเตอรี่แบ็คอัพ เมื่อแบตเตอรี่แบ็คอัพเสื่อม หรือหมดอายุแล้วจะทำให้ข้อมูลที่คุณเซ็ตไว้ เช่น วันที่ จะหายไปกลายเป็นค่าพื้นฐานจากโรงงาน และก็ต้องทำการเซ้ตใหม่ทุกครั้งที่เปิดเครื่อง3. หน่วยความจำแคชระดับสอง หน่วยความจำแคชระดับสอง เป็นอุปกรณ์ ตัวหนึ่งที่ทำหน้าเป็นเสมือนหน่วยความจำ บัฟเฟอร์ให้กับซีพียู โดยใช้หลักการที่ว่า การทำงานร่วมกับอุปกร์ที่ความเร็วสูงกว่า จะทำให้เสียเวลาไปกับการรอคอยให้อุปกรณ์ ที่มีความเร็วต่ำ ทำงานจนเสร็จสิ้นลง เพราะซีพียูมีความเร็วในการทำงานสูงมาก การที่ซีพียูต้องการข้อมูล ซักชุดหนึ่งเพื่อนำไปประมวลผลถ้าไม่มีหน่วยความจำแคช
เมนบอร์ดแบบรวม หมายถึง เมนบอร์ดที่มีการรวม Integrate หรือรวม Controller ต่างๆไว้ในตัวเมนบอร์ดชุดเดียวกันหรือที่เรียกว่า o­n Board เช่น การ์ดเสียง หรือ Display Adapter ที่อยู่บนตัวบอร์ดเองมักจะเรียกกันว่า เมนบอร์ดแบบ All in o­ne เมนบอร์ดแบบแยก หมายถึง เมนบอร์ดที่มีเพียง Chipset อยู่บนเมนบอร์ดเท่านั้น จะทำงานได้ก็ต่อเมื่อมีการเสียบอุปกรณ์อื่นคือ Integrate หรือ Controller ที่อยู่ในรูปของการ์ด เข้าไปในช่อง Slot บนเมนบอร์ดเช่น การ์ดจอที่ต้องใส่ลงไปใน AGP Slot หรือการใส่การ์ดเสียงลงใน Slot Sound Card
hard disk
ฮาร์ดดิสก์ (hard disk) หรือ จานบันทึกแบบแข็ง (ศัพท์บัญญัติ) คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน การติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับมาเธอร์บอร์ด(motherboard) ที่มีอินเตอร์เฟชแบบขนาน (PATA) , แบบอนุกรม (SATA) และแบบเล็ก (SCSI) ทั้งยังสามารถต่อเข้าเครื่องจากภายนอกได้ผ่านทางสายยูเอสบี, สายไฟร์ไวร์ของบริษัท Apple ที่เป็นที่รู้จักน้อยกว่า รวมไปถึงอินเตอร์เฟซอนุกรมแบบต่อนอก (eSATA) ซึ่งทำให้การใช้ฮาร์ดดิสก์ทำได้สะดวกยิ่งขึ้นเมื่อไม่มีคอมพิวเตอร์ถาวรเป็นของตนเอง
- ขนาดความหนาขนาดความหนา 3.5 นิ้ว = 4 นิ้ว×1 นิ้ว×5.75 นิ้ว (101.6 มิลลิเมตร×25.4 มิลลิเมตร×146 มิลลิเมตร) = 376.77344cm³เป็นฮาร์ดดิสก์ สำหรับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ desktop pc หรือคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ server ความเร็วในการหมุนจาน 10,000 7,200 5,400 RPM ตามลำดับ โดยมีความจุในปัจจุบันตั้งแต่ 80 GB ถึง 1 TB
- ขนาดความหนา 2.5 = 2.75 นิ้ว× 0.374–0.59 นิ้ว×3.945 นิ้ว (69.85 มิลลิเมตร×9.5–15 มิลลิเมตร×100 มิลลิเมตร) = 66.3575cm³-104.775cm³นิ้วเป็นฮาร์ดดิสก์ สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา notebook , Laptop ,UMPC,Netbook, อุปกรณ์มัลติมีเดียพกพา ความเร็วในการหมุนจาน 5,400 RPM โดยมีความจุในปัจจุบันตั้งแต่ 60 GB ถึง 320 GB
การเก็บข้อมูล ข้อมูลที่เก็บลงในฮาร์ดดิสก์จะอยู่บนเซกเตอร์และแทร็ก แทร็กเป็นรูปวงกลม ส่วนเซกเตอร์เป็นเสี้ยวหนึ่งของวงกลม อยู่ภายในแทร็กดังรูป แทร็กแสดงด้วยสีเหลือง ส่วนเซกเตอร์แสดงด้วยสีแดง ภายในเซกเตอร์จะมีจำนวนไบต์คงที่ ยกตัวอย่างเช่น 256 ถึง 512 ขึ้นอยู่กับว่าระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์จะจัดการแบ่งในลักษณะใด เซกเตอร์หลายๆ เซกเตอร์รวมกันเรียกว่า คลัสเตอร์ (Clusters) ขั้นตอน ฟอร์แมต ที่เรียกว่า การฟอร์แมตระดับต่ำ (Low -level format ) เป็นการสร้างแทร็กและเซกเตอร์ใหม่ ส่วนการฟอร์แมตระดับสูง (High-level format) ไม่ได้ไปยุ่งกับแทร็กหรือเซกเตอร์ แต่เป็นการเขียน FAT ซึ่งเป็นการเตรียมดิสก์เพื่อที่เก็บข้อมูลเท่านั้นทิศทางของเมนบอร์ด

วิธีสังเกตุMainboardว่าทางไหนทิศเหนือทางไหนทิศใต้แต่ละทิศทำหน้าที่อะไรโดยทั่วไปแล้ว Northbridge คือชิพที่ทำหน้าที่ควบคุมการติดต่อระหว่าง CPU, RAM, AGP หรือ PCI Express และ Southbridge(ยกเว้น CPU รุ่นใหม่ ๆ บางตัวที่รวมการทำงานบางส่วนเข้าไปใน CPU แล้ว)Northbridges บางตัวก็ฝัง Video controllers เข้าไปด้วยเลยซึ่งคือ "การ์ดจอออนบอร์ด" ที่มักจะเรียกกันบ่อยส่วน Southbridge คือชิพจัดการ input/output (I/O) เช่น USB, Serial, audio, Integrated Drive Electronics (IDE), PCI, ISA

ทิศเหนือ ( Northern Bridge )
จากแผนภาพข้างบนจะเห็นว่า อุปกรณ์ที่เข้ามาต่อกับ VT82C589AT โดยตรงได้แก่ Host Master หรือซีพียู (ในคอมพิวเตอร์ ถือว่าตัวที่ทำหน้าที่เป็นตัวหลักในการควบคุมการประมวลผลคือซีพียู) และ VGA Card หรือ AGP Card หน่วยความจำหลัก และหน่วยความจำแคช (Static RAM) และ Slot สำหรับต่ออุปกรณ์ต่างๆ ที่ต่อผ่าน PCI Bus ทั้งหมดนั้นต้องถูกควบคุมผ่านสะพานทิศเหนือ สังเกตได้ว่า Northern Bridge นั้นเป็น Chipset หลัก ที่ทำหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์หลักๆ ของคอมพิวเตอร์ การเรียกชื่อ Chipset นี้จะเรียกเป็นชื่อที่ผู้ผลิตตั้งขึ้นมาเอง อย่างเช่น VIA เรียก Chipset ข้างบนว่า MVP3 แต่ถ้าเป็นกรณีของ Intel จะเรียกเฉพาะชื่อย่อ ถ้าหากสังเกตที่ตัว Chipset จะมีโค๊ดหรือรหัสยาวหลายตัว เช่น FW82443LX แต่ Intel เรียกว่า 440LX เท่านั้น

ทิศใต้ ( Southern Bridge )
ควบคุมอุปกรณ์ต่อพ่วง (Peripheral Devices) Harddisk, CD-ROM Drive , USB และ ACPI Controller (ดูแผนภาพประกอบ) รวมทั้งควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ที่ต่อเชื่อมกับ ISA Bus ด้วย หน้าที่เพิ่มอีกอย่างหนึ่งของ Southern Bridge คือเป็นตัวควบคุม Power Management ControllersABIT IP35 PRO OFF LIMITS เป็นเมนบอร์ดที่รองรับการทำงานของซีพียูซ็อกเก็ต LGA775 สามารถรองรับการทำงานของซีพียูที่ใช้ FSB ตั้งแต่ 800MHz 1066MHz ไปจนถึง 1333MHz ซึ่งหมายความว่าซีพียูที่จะนำมาใช้กับเมนบอร์ดรุ่นนี้ก็จะต้องเป็นรุ่นที่ใหม่อยู่สักหน่อยเพราะต้องใช้ FSB ที่มีความเร็ว 800MHz ขึ้นไปทางด้านหน่วยความจำเมนบอร์ดรุ่นนี้ยังคงใช้หน่วยความจำแบบ DDR2 โดยรองรับหน่วยความจำได้สูงสุดถึง 8GB พร้อมทั้งรองรับการทำงานในแบบ Dual Channel สำหรับความเร็วของหน่วยความจำที่จะนำมาใช้กับเมนบอร์ดรุ่นนี้ก็เริ่มต้นที่ DDR2-667 และ DDR2-800ชิปเซต P35 ที่ใช้นั้นจะรองรับการทำงานของกราฟิกการ์ดแบบ CrossFire ด้วย และบนเมนบอร์ดรุ่นนี้ก็มีสล๊อต PCI-Express x16 มาให้ถึงสองช่อง เพื่อให้เราสามารถใส่กราฟิกการ์ดของ ATi ที่รองรับเทคโนโลยี CrossFire ได้ และถ้าสังเกตดูจะเห็นว่าระยะห่างของสล๊อต PCI-Express x16 ทั้งสองช่องก็มีการเว้นระยะไว้พอสมควร ทำให้สามารถติดตั้งกราฟิกการ์ดที่มีฮีตซิงค์ใหญ่ๆ ได้อย่างสบายชุดระบายความร้อนของเมนบอร์ดรุ่นนี้ก็ถือว่ามีมาอย่างครบสูตรไม่ว่าจะเป็นส่วนของชิปเซตทั้งนอร์ธบริดจ์เซาธ์บริดจ์และส่วนของภาคจ่ายไฟของซีพียู โดยเฉพาะฮีตซิงค์็ตรงชิปนอร์ธบริดจ์นั้นมีขนาดใหญ่โตพอสมควรทำให้เราไม่ต้องกังวลเรื่องความร้อนเมื่อทำการโอเวอร์คล๊อก FSB ไปที่ความเร็วสูงๆ เพราะเมื่อเราทำการปรับ FSB ไปสูงๆ นั้นเราก็อาจจะต้องทำการเพิ่มแรงดันให้กับชิปนอร์ธบริดจ์ด้วยเหมือนกันนอกเหนือไปจากคุณสมบัติที่เกี่ยวข้องกับการโอเวอร์คล็อกแล้ว เมนบอร์ดรุ่นนี้ก็ยังมีคุณสมบัติที่น่าสนใจอีกหลายอย่างเช่น มีพอร์ต LAN จำนวนสองช่อง มี eSATA จำนวนสองช่อง มีสวิตช์สำหรับเคลียร์ไบออสอยู่ทางด้านหลัง ซึ่งทำให้เราไม่ต้องเปิดฝาเคสเวลาที่ต้องการเคลียร์ค่าในไบออสเป็นต้นMainboard1. ชุดชิพเซ็ต ชุดชิพเซ็ตเป็นเสมือนหัวใจของเมนบอร์ดอีกที่หนึ่ง เนื่องจากอุปกรณ์ตัวนี้จะมีหน้าที่หลักเป็นเหมือนทั้ง อุปกรณ์ แปลภาษา ให้อุปกรณ์ต่างๆ ที่อยู่บนเมนบอร์ดสามารถทำงานร่วมกันได้ และทำหน้าที่ควบคุม อุปกรณ์ต่างๆ ให้ทำงานได้ตามต้องการ โดยชิพเซ็ตนั้นจะประกอบด้วยชิพเซ็ตนั้นจะประกอบไปด้วยชิพ 2 ตัว คือชิพ System Controller และชิพ PCI to ISA Bridge North Bridge เป็นชิพที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของ อุปกรณ์หลักๆ ความเร็วสูงชนิดต่างๆ บนเมนบอร์ดที่ประกอบด้วยซีพียู หน่วยความจำแคชระดับสอง (SRAM) หน่วยความจำหลัก (DRAM) ระบบกราฟิกบัสแบบ AGP และระบบบัสแบบ PCI South Bridge จะทำหน้าที่เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกันระหว่างระบบบัสแบบ PCI กับอุปกรณ์อื่นๆ ที่มีความเร็วในการทำงานต่ำกว่าเช่นระบบบัสแบบ ISA ระบบบัสอนุกรมแบบ USB ชิพคอนโทรลเลอร์ IDE ชิพหน่วยความจำรอมไออส ฟล็อบปี้ดิกส์ คีย์บอร์ด พอร์ตอนุกรม และพอร์ตขนาน 2. หน่วยความจำรอมไบออส และแบตเตอรรี่แบ็คอัพไบออส BIOS (Basic Input Output System) หรืออาจเรียกว่าซีมอส (CMOS) เป็นชิพหน่วยความจำชนิด หนึ่งที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูล และโปรแกรมขนาดเล็กที่จำเป็นต่อการบูตของระบบคอมพิวเตอร์ ต้องการพลังงานไฟฟ้าเพื่อรักษาข้อมูลไว้ แบตเตอรี่แบ็คอัพ เมื่อแบตเตอรี่แบ็คอัพเสื่อม หรือหมดอายุแล้วจะทำให้ข้อมูลที่คุณเซ็ตไว้ เช่น วันที่ จะหายไปกลายเป็นค่าพื้นฐานจากโรงงาน และก็ต้องทำการเซ้ตใหม่ทุกครั้งที่เปิดเครื่อง3. หน่วยความจำแคชระดับสอง หน่วยความจำแคชระดับสอง เป็นอุปกรณ์ ตัวหนึ่งที่ทำหน้าเป็นเสมือนหน่วยความจำ บัฟเฟอร์ให้กับซีพียู โดยใช้หลักการที่ว่า การทำงานร่วมกับอุปกร์ที่ความเร็วสูงกว่า จะทำให้เสียเวลาไปกับการรอคอยให้อุปกรณ์ ที่มีความเร็วต่ำ ทำงานจนเสร็จสิ้นลง เพราะซีพียูมีความเร็วในการทำงานสูงมาก การที่ซีพียูต้องการข้อมูล ซักชุดหนึ่งเพื่อนำไปประมวลผลถ้าไม่มีหน่วยความจำแคช
เมนบอร์ดแบบรวม หมายถึง เมนบอร์ดที่มีการรวม Integrate หรือรวม Controller ต่างๆไว้ในตัวเมนบอร์ดชุดเดียวกันหรือที่เรียกว่า o­n Board เช่น การ์ดเสียง หรือ Display Adapter ที่อยู่บนตัวบอร์ดเองมักจะเรียกกันว่า เมนบอร์ดแบบ All in o­ne เมนบอร์ดแบบแยก หมายถึง เมนบอร์ดที่มีเพียง Chipset อยู่บนเมนบอร์ดเท่านั้น จะทำงานได้ก็ต่อเมื่อมีการเสียบอุปกรณ์อื่นคือ Integrate หรือ Controller ที่อยู่ในรูปของการ์ด เข้าไปในช่อง Slot บนเมนบอร์ดเช่น การ์ดจอที่ต้องใส่ลงไปใน AGP Slot หรือการใส่การ์ดเสียงลงใน Slot Sound Card
hard disk
ฮาร์ดดิสก์ (hard disk) หรือ จานบันทึกแบบแข็ง (ศัพท์บัญญัติ) คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน การติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับมาเธอร์บอร์ด(motherboard) ที่มีอินเตอร์เฟชแบบขนาน (PATA) , แบบอนุกรม (SATA) และแบบเล็ก (SCSI) ทั้งยังสามารถต่อเข้าเครื่องจากภายนอกได้ผ่านทางสายยูเอสบี, สายไฟร์ไวร์ของบริษัท Apple ที่เป็นที่รู้จักน้อยกว่า รวมไปถึงอินเตอร์เฟซอนุกรมแบบต่อนอก (eSATA) ซึ่งทำให้การใช้ฮาร์ดดิสก์ทำได้สะดวกยิ่งขึ้นเมื่อไม่มีคอมพิวเตอร์ถาวรเป็นของตนเอง
- ขนาดความหนาขนาดความหนา 3.5 นิ้ว = 4 นิ้ว×1 นิ้ว×5.75 นิ้ว (101.6 มิลลิเมตร×25.4 มิลลิเมตร×146 มิลลิเมตร) = 376.77344cm³เป็นฮาร์ดดิสก์ สำหรับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ desktop pc หรือคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ server ความเร็วในการหมุนจาน 10,000 7,200 5,400 RPM ตามลำดับ โดยมีความจุในปัจจุบันตั้งแต่ 80 GB ถึง 1 TB
- ขนาดความหนา 2.5 = 2.75 นิ้ว× 0.374–0.59 นิ้ว×3.945 นิ้ว (69.85 มิลลิเมตร×9.5–15 มิลลิเมตร×100 มิลลิเมตร) = 66.3575cm³-104.775cm³นิ้วเป็นฮาร์ดดิสก์ สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา notebook , Laptop ,UMPC,Netbook, อุปกรณ์มัลติมีเดียพกพา ความเร็วในการหมุนจาน 5,400 RPM โดยมีความจุในปัจจุบันตั้งแต่ 60 GB ถึง 320 GB
การเก็บข้อมูล ข้อมูลที่เก็บลงในฮาร์ดดิสก์จะอยู่บนเซกเตอร์และแทร็ก แทร็กเป็นรูปวงกลม ส่วนเซกเตอร์เป็นเสี้ยวหนึ่งของวงกลม อยู่ภายในแทร็กดังรูป แทร็กแสดงด้วยสีเหลือง ส่วนเซกเตอร์แสดงด้วยสีแดง ภายในเซกเตอร์จะมีจำนวนไบต์คงที่ ยกตัวอย่างเช่น 256 ถึง 512 ขึ้นอยู่กับว่าระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์จะจัดการแบ่งในลักษณะใด เซกเตอร์หลายๆ เซกเตอร์รวมกันเรียกว่า คลัสเตอร์ (Clusters) ขั้นตอน ฟอร์แมต ที่เรียกว่า การฟอร์แมตระดับต่ำ (Low -level format ) เป็นการสร้างแทร็กและเซกเตอร์ใหม่ ส่วนการฟอร์แมตระดับสูง (High-level format) ไม่ได้ไปยุ่งกับแทร็กหรือเซกเตอร์ แต่เป็นการเขียน FAT ซึ่งเป็นการเตรียมดิสก์เพื่อที่เก็บข้อมูลเท่านั้น

วันจันทร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

วันอังคารที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2552

สัปดาห์ที่ 8 ปัญหาและการแก้ไข Hardware .. Mouse ลูกกลิ้ง

Mouse ลูกกลิ้ง
1. เมาส์ไม่ตอบสนองต่อการเคลื่อนไหว สายเมาส์เสียบไม่แน่นหนาในช่องเสียบที่ถูกต้อง ซึ่งอยู่ด้านหลังของคอมพิวเตอร์
การแก้ไข... ตรวจสอบและเสียบสายเมาส์ให้แน่น
2.เมาส์จะมีเศษฝุ่นเข้าไปเกาะติดหน้าสัมผัสของวงจรภายในไมโครสวิทช์ทำให้เกิดอาการคลิกเมาส์ไม่ค่อยได้
การแก้ไข...หงายท้องเมาส์ พร้อมกับใช้ไขควงคลายน็อตที่ยึดเมาส์ออกให้หมดเปิดฝาครอบตัวเมาส์ออกมาแล้วจึงใช้นำยาสเปรย์ฉีดพ่นทำความสะอาดไมโครสวิทช์หลาย ๆ ครั้ง เพื่อให้นำยาสเปรย์ได้แทรกเข้าไปละลายสิ่งสกปรกบนหน้าสัมผัสภายในสวิทช์จนกว่าจะกดสวิทช์ได้อย่างสะดวก
3.เมาส์ไม่ตอบสนองต่อการเคลื่อนไหว ไม่ได้ติดตั้งไดรเวอร์ของเมาส์ หรือ ติดตั้งไดรเวอร์ที่ไม่ถูกต้อง
การแก้ไข...ตรวจดูให้แน่ใจว่าได้ติดตั้งไดรเวอร์ของเมาส์ที่ถูกต้อง จากเดสก์ทอปของวินโดวส์ให้คลิกที่ปุ่ม Start จากนั้น ชี้ไปที่ Settings แล้วคลิกที่ Control Panel เมื่อเห็นหน้าต่าง Control Panel ให้ดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอน Mouse แล้วคลิกที่แท็บ General จากนั้น ชี้ไปที่ Settings แล้วคลิกที่ Control Panel เมื่อเห็นหน้าต่าง Control Panel ให้ดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอน Mouse แล้วคลิกที่แท็บ General
4.เมาส์มีราคาถูกเพียงตัวละ 80-200บาทเท่านั้นผู้ใช้ส่วนใหญ่จึงไม่ใส่ใจต่อปัญหานี้และคิดในใจว่าเป็นเพราะเมาส์ราคาถูกจึงเสียง่ายความจริงแล้วเมาส์ไม่ได้เสียง่ายขนาดนั้นแต่เป็นเพราะเมาส์มีส่วนที่ต้องเคลื่อนไหวมาก โดยการเลื่อนลูกบอลยางไปกับพื้นหรือแผ่นรองเมาส์จึงมักดูดเอาฝุ่นผงสกปรกต่าง ๆ เข้ากับติดอยู่กับแกนหมุนทำให้แกนหมุนไม่ทำงานจึงไม่สามารถที่จะตรวจจับตำแหน่งที่เมาส์เคลื่อนที่ไปได้
การแก้ไข...ถอดเมาส์ออกมาทำความสะอาดเอาฝุ่นผงออกไปจากลูกบอลยางและแกนหมุนเท่านั้นเมาส์ก็จะใช้ได้ต่อไป 1. เปิดฝาครอบลูกบอลออก โดยหมุนบิดไปตามทิศทางของลูกศรที่แสดงบนฝาครอบ ใช้นำยาสเปรย์ฉีดทำความสะอาดลูกบอลและเช็ดให้แห้ง2. ใช้นำยาสเปรย์ฉีดล้อหมุนแกนหมุนแนวตั้งและแกนหมุนแนวนอน และใช้ไม้สำลีเช็ดจนไม่มีฝุ่นผงติดอยู่ที่แกนหมุนทั้งสาม3. เมื่อเห็นว่าแกนหมุนทั้งหมดสะอาดดีแล้ว ให้ใส่ลูกบอลพร้อมปิดฝาครอบกลับเข้าที่เดิม ซึ่งเมาส์ก็จะกลับมาใช้งานได้เหมือนเดิม- คลิกเมาส์ได้บ้าง ไม่ได้บ้าง
5.เมาส์งานไม่ได้เลย
การแก้ไข...ตรวจสอบสายและพักว่าสายหักในก้อไม่สามารถใช้งานได้เลย

สัปดาห์ที่ 7 แนะนำสถานที่ท่องเที่ยว

ค่ายบางกุ้ง
สถานที่ตั้ง ตำบลบางกุ้ง อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม
เป็นค่ายทหารเรือไทยที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ สมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์ ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ยกกองทัพเรือมาตั้งค่ายที่ค่ายบางกุ้ง เรียกว่า "ค่ายบางกุง้" โดยสร้างกำแพงล้อมวัดบางกุ้งให้อยู่กลางค่าย เพื่อเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจและเป็นที่เคารพบูชาของทหาร ภายหลังเสียกรุงครั้งที่ 2 ค่ายบางกุ้งก็ร้างไปจนกระทั่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงสถาปนากรุงธนบุรี เป็นราชธานีจึงทรงโปรดเกล้าฯ ให้ชาวจีนจากระยอง ชลบุรี ราชบุรี และกาญจนบุรีรวบรวมผู้คนมาตั้งกองทหารรักษาค่าย จึงมีชื่อเรียกอีกหนึ่งว่า "ค่ายจีนบางกุ้ง" ในปี พ.ศ. 2311 พระเจ้ากรุงอังวะทรงยกทัพผ่านกาญจนบุรีมาล้อมค่ายจีนบางกุ้ง สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงโปรดเกล้าฯ ให้พระมหามนตรี (บุญมา) เป็นแม่ทัพยกไปช่วยเหลือทหารจีนขับไล่กองทัพพม่าทำให้ข้าศึกแตกพ่าย หลังจากนั้นค่ายบางกุ้งแห่งนี้ก็ถูกปล่อยให้รกร้างเกือบ 200 ปี จนมาถึง พ.ศ.2510 กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้ตั้งเป็นค่ายลูกเสือขึ้น (ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว) และได้สร้างศาลพระเจ้าตากสินไว้เป็นอนุสรณ์

วันอังคารที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2552

สัปดาห์ที่ 6 ซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมใช้งาน

1. รายชื่ออุปกรณ์ใน CASE

2. การแก้ปัญหาในการซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์

วันจันทร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2552

สัปดาห์ที่ 5 asciicode และ Mouse

AMPHA LAVICHAI
1000001010110010000010100001001010000010 00110010100000100110101010010010

อำภา ลาวิชัย
10110011110010110000001101001011 1010001101001011111100011001010111000101101000011


เมาส์คืออะไร
อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับชี้พิกัดบนหน้าจอว่าผู้ใช้คอมพิวเตอร์ต้องการเลือกทำงานบนตำแหน่งใดๆ ที่ปรากฏบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ตัวนี้ทำให้ผู้ใช้สามารถใช้ คอมพิวเตอร์ได้อย่างสะดวกและรวเมาส์คืออะไร
อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับชี้พิกัดบนหน้าจอว่าผู้ใช้คอมพิวเตอร์ต้องการเลือกทำงานบนตำแหน่งใดๆ ที่ปรากฏบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ตัวนี้ทำให้ผู้ใช้สามารถใช้ คอมพิวเตอร์ได้อย่างสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น (สำนักงานศาลยุติธรรม สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ 2549)
เมาส์ (mouse) คืออุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมการใช้งานในคอมพิวเตอร์ชิ้นหนึ่ง ซึ่งออกแบบเพื่อให้พอดีกับการใช้งานโดยส่วนโค้งและส่วนเว้าโค้งเข้าตามกับอุ้งมือของผู้ใช้ โดยภายด้านใต้ของเมาส์จะมีอุปกรณ์ซึ่งตรวจจับการเคลื่อนไหวของเมาส์ โดยส่งสัญญาณไปที่คอมพิวเตอร์เพื่อแสดงผลของเคอร์เซอร์ (cursor) บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ เมาส์ได้ชื่อมาจากรูปร่างของตัวมันเอง และสายไฟ ซึ่งมีลักษณะคล้ายหนูและหางหนู และขณะเดียวกันการเคลื่อนที่ของเคอร์เซอร์ (cursor) บนหน้าจอมีลักษณะการเคลื่อนที่ไม่มีทิศทางเหมือนการเคลื่อนที่ของหนู (วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี 2549)
เมาส์ (Mouse) หรือ "หนูอิเล็กทรอนิกส์" เป็นอุปกรณ์ที่มีลักษณะคล้ายหนู มีสายต่ออยู่ที่ปลายลักษณะเดียวกับหางหนู เมาส์จะช่วยในการบ่งชี้ตำแหน่งว่าขณะนี้กำลังอยู่ ณ จุดใดบนจอภาพ เรียกว่า ตัวชี้ตำแหน่ง (Pointer) ซึ่งอาศัยการเลื่อนเมาส์ แทนการกดปุ่มบังคับทิศทางบนคีย์บอร์ด (keyboard) (ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ 2549)
เมาส์ เป็นอุปกรณ์พื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สำคัญ นำเข้าข้อมูลโดยการเลื่อนเมาส์เพื่อบังคับตัวชี้ไปยังตำแหน่งต่าง ๆ บนหน้าจอและทำการคลิก (click) หรือ ดับเบิลคลิก (double click)
ดเร็วยิ่งขึ้น (สำนักงานศาลยุติธรรม สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ 2549)
เมาส์ (mouse) คืออุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมการใช้งานในคอมพิวเตอร์ชิ้นหนึ่ง ซึ่งออกแบบเพื่อให้พอดีกับการใช้งานโดยส่วนโค้งและส่วนเว้าโค้งเข้าตามกับอุ้งมือของผู้ใช้ โดยภายด้านใต้ของเมาส์จะมีอุปกรณ์ซึ่งตรวจจับการเคลื่อนไหวของเมาส์ โดยส่งสัญญาณไปที่คอมพิวเตอร์เพื่อแสดงผลของเคอร์เซอร์ (cursor) บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ เมาส์ได้ชื่อมาจากรูปร่างของตัวมันเอง และสายไฟ ซึ่งมีลักษณะคล้ายหนูและหางหนู และขณะเดียวกันการเคลื่อนที่ของเคอร์เซอร์ (cursor) บนหน้าจอมีลักษณะการเคลื่อนที่ไม่มีทิศทางเหมือนการเคลื่อนที่ของหนู (วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี 2549)
เมาส์ (Mouse) หรือ "หนูอิเล็กทรอนิกส์" เป็นอุปกรณ์ที่มีลักษณะคล้ายหนู มีสายต่ออยู่ที่ปลายลักษณะเดียวกับหางหนู เมาส์จะช่วยในการบ่งชี้ตำแหน่งว่าขณะนี้กำลังอยู่ ณ จุดใดบนจอภาพ เรียกว่า ตัวชี้ตำแหน่ง (Pointer) ซึ่งอาศัยการเลื่อนเมาส์ แทนการกดปุ่มบังคับทิศทางบนคีย์บอร์ด (keyboard) (ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ 2549)
เมาส์ เป็นอุปกรณ์พื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สำคัญ นำเข้าข้อมูลโดยการเลื่อนเมาส์เพื่อบังคับตัวชี้ไปยังตำแหน่งต่าง ๆ บนหน้าจอและทำการคลิก (click) หรือ ดับเบิลคลิก (double click)

กำเนิดของเมาส์
เมาส์ถูกประดิษฐ์ขึ้นในปี 1963 โดยดักลัส เองเกลบาท (Douglas Engelbart) ที่สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด (Stanford Research Institute) หลังจากการทดสอบการใช้งานอย่างละเอียด (เมาส์ เคยมีอีกชื่อหนึ่งว่า “บัก” (bug) แต่ภายหลังได้รับความนิยมน้อยกว่าคำว่า “เมาส์”) มันเป็นหนึ่งในการทดลองอุปกรณ์ชี้ (Pointing Device) สำหรับ Engelbart's oN-Line System (NLS) ส่วนอุปกรณ์ชี้อื่นออกแบบมาเพื่อการเคลื่อนไหวในร่างกายส่วนอื่น ๆ เช่น อุปกรณ์ที่ใช้ติดกับคางหรือจมูก แต่ท้ายที่สุดแล้วเมาส์ก็ได้รับการคัดเลือกเพราะง่ายต่อการใช้งาน (วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี 2549)
ดักลาส เองเกลบาทเมาส์คอมพิวเตอร์ตัวแรก
เมาส์ตัวแรกนั้นเทอะทะและใช้เฟือง 2 ตัววางในลักษณะตั้งฉากกัน การหมุนของแต่ละเฟืองจะถูกแปลให้เป็นการเคลื่อนที่บนแกนในปริภูมิ 2 มิติ เองเกลบาท ได้รับสิทธิบัตรเลขที่ US3541541 ในวันที่ 17 พฤศจิกายน 1970 ชื่อ X –Y Position Indicator For A Display System (การระบุตำแหน่ง X –Y สำหรับระบบแสดงผล) (วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี 2549)
เมาส์คอมพิวเตอร์ตัวแรก โดย ดักลาส เองเกลบาทแสดงการทำงานของล้อหมุนของเมาส์
เมาส์แบบต่อมาถูกประดิษฐ์ในช่วงต้นทศวรรษที่ 1970 โดย บิล อิงลิช (Bill English) ที่ศูนย์วิจัยของบริษัท ซีรอกส์ (Xerox PARC) โดยแทนที่ล้อหมุนด้วยลูกบอลซึ่งสามารถหมุนไปได้ทุกทิศทาง การเคลื่อนไหวของลูกบอลจะถูกตรวจจับโดยล้อเล็กๆ ภายในอีกทีหนึ่ง เมาส์ชนิดนี้คล้าย ๆ กับแทร็กบอล (Track ball) และนิยมใช้กับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ตลอดทศวรรษที่ 1980 และ 1990 ทำให้การใช้เมาส์และคีย์บอร์ดในเวลาเดียวกันสามารถเป็นจริงได้ (วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี 2549) ในปี ค.ศ. 1987 มีการปรับปรุงลักษณะภายนอกของเมาส์ ให้มีลักษณะมน มีปุ่ม 2 ปุ่ม ซึ่งกล่าวได้ว่ามีลักษณะคล้ายก้อนสบู่
และในปี ค.ศ. 1989 เมาส์ได้พัฒนามาถึงขั้น Trackball หรือ BallPoint ซึ่งเป็นเมาส์ที่ผู้ใช้เลื่อนลูกบอลด้วยนิ้ว คือ เอาลูกบอลมาไว้ด้านบนเป็น Trackball อันแรกที่ใช้กับ Laptops จากนั้นจึงพัฒนาจนสามารถใช้งานกับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ จนช่วงที่คอมพิวเตอร์ Laptops ได้รับความสนใจจึงสร้าง Touch Pad หรือ Touch mouse ขึ้นในปี ค.ศ. 1995 เป็นเมาส์ที่ไม่มีลูกบอลหรือลูกกลิ้งเป็นส่วนประกอบแต่จะมีตัวเซ็นเซอร์การกดของนิ้ว ซึ่งเมาส์ประเภทนี้ยังคงใช้กับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะในปัจจุบันด้วย
ต่อมาก็มีการพัฒนาเมาส์ไร้สาย (Cordless mouse) มีหลายประเภท เช่น อินฟราเรด ต่อในปี ค.ศ.1997 เมาส์คลื่นวิทยาจึงได้ถูกพัฒนาขึ้นและมีรูปร่างหน้าตาที่แปลกออกไป จนในปี ค.ศ. 1997 การประดิษฐ์เมาส์ได้รับการพัฒนาอย่างมากในด้านของคุณภาพการใช้งานและความสะดวกสบายต่อผู้ใช้มากขึ้น เช่น รูปร่างของเมาส์มีความสะดวกในการสัมผัสมากขึ้นและพัฒนาให้สามารถใช้งานได้กับอินเทอร์เน็ตโดยมีตัวเลื่อน (Scroller) อยู่บนเมาส์ เพื่ออำนวยความสะดวกในการเลื่อนหน้าจอ และในอนาคตเมาส์จะมีการพัฒนาให้มีความสะดวกในการใช้และการติดตั้งระหว่างอุปกรณ์Input กับ Bios ของเครื่องคอมพิวเตอร์และมีการพัฒนาไปใช้ระบบสัญญาณแบบดิจิทัลในการทำงานมาก เมาส์ในปัจจุบันได้รับรูปแบบมาจาก ?cole polytechnique f?d?rale de Lausanne (EPFL) ภายใต้แรงบันดาลใจของ ศาสตราจารย์ Jean-Daniel Nicoud ร่วมกับวิศวกรและช่างนาฬิกาชื่อ Andr? Guignard ซึ่งการดำเนินงานครั้งนี้ทำให้เกิดบริษัท โลจิเทค (Logitech) ผลิตเมาส์ที่ได้รับความนิยมสูงเป็นยี่ห้อแรก (วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี 2549



การทำงานของเมาส์
ส่วนประกอบภายใจของเมาส์โดยทั่วไปจะเป็นลูกบอลยางทรงกลม ซึ่งทำมาจากลูกเหล็กและหุ้มยางเอาไว้ เพื่อให้ลูกบอลยางมีน้ำหนักและติดหนึบกับแผ่นรองเมาส์ นอกจากนั้นยังมีลูกกลิ้งทรงกระบอก 2 อัน วางตัวในแนวตั้งฉากกัน สำหรับใช้ในการระบุทิศทางและตำแหน่งการเคลื่อนที่ในแนว ซ้าย-ขวา บน-ล่าง (แกน X , Y) ที่ปลายของลูกกลิ้งทั้งสองจะมีแผ่นพลาสติกสีดำลักษณะเป็นแผ่นวงกลมแบนบางเจาะช่องสี่เหลี่ยมหลายช่องตามแนวรัศมีของวงกลมและมีอุปกรณ์ตรวจจับแสง (photo detector) ติดกับอุปกรณ์ตรวจจับแสงจะประกอบด้วย LED จะมีสวิตซ์ของปุ่มคลิกเมาส์และแผงวงจรควบคุมไมโครคอนโทรเลอร์(Micro controller) ซึ่งจะทำหน้าที่รับสัญญาณจากสวิตซ์และอุปกรณ์รับแสงเพื่อแปลงเป็นสัญญาณข้อมูลสำหรับอินเทอร์เฟส (Interface) กับคอมพิวเตอร์
การทำงานของเมาส์ คือ การเลื่อนเมาส์ ลูกบอลยางก็จะหมุนกลิ้งไปตามทิศทางของเมาส์ที่เลื่อนไปซึ่งการหมุนของลูกบอลยางจะมีผลให้ลูกกลิ้งหมุนตามได้ด้วยในแนวแกน (X , Y) ซึ่งการหมุนของลูกกลิ้งก็จะส่งผลให้แผ่นพลาสติกกลมที่ปลายหมุนตามไปด้วยเช่นกัน การหมุนของแผ่นพลาสติกทำให้แสงจาก LED ที่อุปกรณ์รับแสงได้รับแตกต่างกันไปตามมุมองศาของการหมุนตัวรับแสงก็จะส่งสัญญาณที่แตกต่างกันไปให้กับไมโครคอนโทรลเลอร์ (Micro controller) ทำให้รู้ได้ว่าขณะนี้มีการเคลื่อนตำแหน่งของเมาส์ไปในทิศทางและระยะทางเท่าใด(สหัสญา บุญสวัสดิ์ 2543 : 68-69)
เมาส์ประกอบด้วย ลูกกลิ้งที่ติดตั้งอยู่ด้านล่าง และมีปุ่มกดควบคุม (ตั้งแต่ 1 - 3 ปุ่ม) การใช้เมาส์จะนำเมาส์วางไว้บนพื้นราบ และเลื่อนเมาส์ไปในทิศทางที่ต้องการ บนจอภาพจะปรากฏ สัญลักษณ์ชี้ตำแหน่ง เรียกว่า "Mouse Pointer" (มักจะเป็นรูปลูกศรเฉียงซ้าย) เมื่อต้องการจะทำงานใดๆ ก็ทำการกดปุ่มเมาส์ ตามหลักการใช้เมาส์ คอมพิวเตอร์จะรับสัญญาณ และทำการประมวลผลต่อไป (keyboard) (ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ 2549)


วิธีการใช้เมาส์
เซนเซอร์อ่านค่า และส่งเป็นค่าของความเร็วการเคลื่อนไหวในแนวแกน X และแกน Y
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี (2549) ได้สรุปวิธีการใช้เมาส์ได้ดังนี้
Single clicking
เป็นการอินพุตที่ง่ายที่สุด โดยหมายรวมทั้งการกดปุ่มบนเมาส์ชนิดปุ่มเดียวและชนิดหลายปุ่ม โดยหากเป็นเมาส์ชนิดหลายปุ่ม จะเรียกการคลิกนี้ตามตำแหน่งของปุ่ม เช่น คลิกซ้าย, คลิกขวา
Double-click
ดับเบิ้ลคลิกคือการกดปุ่ม 2 ครั้งติดต่อกันอย่างเร็ว ใน Macintosh Finder การคลิกจะเป็นการเลือกไฟล์ ส่วนการดับเบิ้ลคลิกนั้นจะเป็นการเปิดไฟล์ อย่างไรก็ดีการดับเบิ้ลคลิกนี้จะยากสำหรับผู้ที่มีปัญหาด้านการเคลื่อนไหวของนิ้วมือ เมาส์แบบหลายปุ่มนั้นสามารถที่จะเซ็ทให้ปุ่มใดปุ่มหนึ่งทำงานเหมือนการดับเบิ้ลคลิกด้วยการคลิกครั้งเดียวได้ และ OS ในปัจจุบันสามารถที่จะกำหนดช่วงสูงสุดที่จะคลิกปุ่ม 2 ครั้งให้เป็นดับเบิ้ลคลิกได้
Triple-click
ทริปเปิ้ลคลิกเป็นการกดปุ่ม 3 ครั้งติดต่อกันอย่างรวดเร็วใช้มากที่สุดใน word processors และใน web browsers เพื่อที่จะเลือกข้อความทั้งย่อหน้า
Chords
คอร์ดส์ คือการคลิกปุ่มตั้งแต่ 2 ปุ่มพร้อมกัน ซึ่งไม่ค่อยได้ใช้งานนัก ใน X Windows system การกดปุ่มซ้ายและขวาพร้อมกันจะมีผลเหมือนกับการกดปุ่มกลาง
Click-and-drag
คือการกดปุ่มบน object ค้างไว้แล้วลากไปที่ที่ต้องการ Mouse gestures mouse gesture เป็นวิธีการผสมผสานการเลื่อนและการคลิกเมาส์ ซึ่งซอฟต์แวร์ที่จะใช้ได้จะต้องจดจำคำสั่งพิเศษต่าง ๆ เหล่านี้ได้ เช่นในโปรแกรมวาดภาพ การเลื่อนเมาส์ในแนวแกน X อย่างรวดเร็วบนรูปร่างใด ๆ จะเป็นการลบรูปร่างนั้น
Right Click
คือการคลิกเมาส์ปุ่มขวา คือ การคลิกเมาส์ที่ปุ่มขวาหนึ่งครั้ง ใช้เพื่อเปิดเมนูย่อยขึ้นมา นิยมใช้ในการเปิดโปรแกรม Windows


ประเภทของเมาส์
1.Cordless
เมาส์ที่ใช้คลื่นวิทยุแทนการใช้สายในการเชื่อมต่อ (computer hope 1998-2006)
2.Foot mouse
แทนที่จะใช้นิ้วมือกด ก็ใช้เท้ากดแทน (วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี 2549)
3.Glide point
จะเป็นแผนสี่เหลี่ยมที่วางอยู่หน้าแป้นพิมพ์ สามารถใช้นิ้ววาดเพื่อเลื่อนตำแหน่งของตัวชี้ตำแหน่งบนจอภาพเช่นเดียวกับเมาส์ เหมือนกับ Touch pad (computer hope 1998-2006)
ตัวอย่าง Glide point
4.IntelliMouse หรือ Wheel mouse
มีล้อหมุนใช้สำหรับเลื่อนได้ เป็นชื่อเรียกเมาส์ของ Microsoft (computer hope 1998-2006)
5.J mouse
ใช้แป้นพิมพ์ J แทนการควบคุมการเลื่อนตำแหน่งโดยมีปุ่มข้างล่างอีก 2 ปุ่มอยู่ใกล้กับแป้น Space bar เพื่อคลิก (click) ซ้าย-ขวา ใช้สำหรับคอมพิวเตอร์แบบพกพา ปัจจุบันไม่ใช้แล้วเนื่องจากไม่สะดวกในการใช้งาน (computer hope 1998-2006)
6.Joy stick
เป็นก้านสำหรับใช้โยกขึ้นลง / ซ้ายขวา เพื่อย้ายตำแหน่งของตัวชี้ตำแหน่งบนจอภาพ มีหลักการทำงานเช่นเดียวกับเมาส์ แต่จะมีแป้นกดเพิ่มเติมมาจำนวนหนึ่งสำหรับสั่งงานพิเศษ นิยมใช้กับการเล่นเกมส์คอมพิวเตอร์หรือควบคุมหุ่นยนต์ (บีคอม [ม.ป.ป.])
รูปตัวอย่าง Joy stick แบบต่าง ๆ
7.Touch pad
แผ่นรองสัมผัส จะเป็นแผนสี่เหลี่ยมที่วางอยู่หน้าแป้นพิมพ์ สามารถใช้นิ้ววาดเพื่อเลื่อนตำแหน่งของตัวชี้ตำแหน่งบนจอภาพเช่นเดียวกับเมาส์ (บีคอม [ม.ป.ป.])
ตัวอย่าง Touch pad
8.Trackball
ลูกกลมควบคุม จะเป็นลูกบอลเล็ก ๆ ซึ่งอาจวางอยู่หน้าจอในเนื้อที่ของแป้นพิมพ์ หรือเป็นอุปกรณ์ต่างหากเช่นเดียวกับเมาส์ เมื่อผู้ใช้หมุนลูกบอลก็จะเป็นการเลื่อนตำแหน่งของตัวชี้ตำแหน่งบนจอภาพ มีหลักการทำงานเช่นเดียวกับเมาส์ ซึ่งเป็นอุปกรณ์ตัวชี้อีกแบบหนึ่งที่ใช้งานกับคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก จะมีลูกบอลยึดติดกับ Socket บนอุปกรณ์ แทนที่เราจะเคลื่อนที่ลูกบอล เราใช้ก็ใช้นิ้วกลิ้งลูกบอลแทน ดังแสดงในรูป ส่วนคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กจะมี Track ball ติดตั้งมาพร้อมกับเครื่องอยู่บนคีย์บอร์ด (บีคอม [ม.ป.ป.]) ตัวอย่าง Trackball
9.Track Point
แท่งชี้ควบคุม จะเป็นแท่งพลาสติกเล็ก ๆ อยู่ตรงกลางแป้นพิมพ์ บังคับโดยใช้นิ้วหัวแม่มือ เพื่อเลื่อนตำแหน่งของตัวชี้ตำแหน่งบนจอภาพเช่นเดียวกับเมาส์ (บีคอม [ม.ป.ป.]) ตัวอย่าง Track Point
10.Wheel mouse
เมาส์ที่มีล้อหมุน ใช้สำหรับเลื่อนได้ (computer hope 1998-2006)

การดูแลรักษา
การเลื่อนเมาส์ไปมาบนโต๊ะที่มีฝุ่นละอองจับ ทำให้ฝุ่นละอองเหล่านั้นเข้าไปเกาะพันกับแกนภายในของเมาส์ เมื่อฝุ่นจับหนาทำให้แกนไม่ได้สัมผัสกับลูกบอลโดยตรง เมื่อเลื่อนเมาส์แกนจึงไม่ได้รับสัญญาณการเคลื่อนที่ของเมาส์ และมีผลทำให้พอยน์เตอร์ (pointer) บนจอภาพเคลื่อนที่ไม่ถูกต้องสอดคล้องกับการเคลื่อนที่ของเมาส์จริง (นอร์ตัน 2545 : 75)
การทำความสะอาดเมาส์ ให้ปิดเครื่องและถอดปลั๊กไฟออกให้หมดก่อนเมาส์ที่มีลูกบอลอยู่ด้านใน มักเป็นส่วนที่สะสมฝุ่น หากลูกบอลสกปรก จะทำให้ฝืด เมาส์เคลื่อนที่ลำบาก การทำความสะอาดต้องหงายตัวเมาส์ แล้วเปิดฝาครอบลูกบอลออก โดยการหมุนหรือกดฝาครอบ จากนั้นคว่ำเอาลูกบอลออกมา เช็ดคราบฝุ่นให้เรียบร้อยจึงใส่ลูกบอล แล้วปิดฝาครอบให้เหมือนเดิม และควรทำความสะอาดบ่อย ๆ (กองบรรณาธิการเว็บไซต์ arip.co.th และ thaimail.com. 2547 : 191-192)
สำหรับเมาส์แสง ให้ใช้คอตตอนบัดชุบแอลกอฮอล์เช็ดตรงที่ปล่อยแสงออกมา

วันอังคารที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2552

วันจันทร์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2552

-o- การ เปลี่ยน แปลง -o-



ไม่เอาอีกแล้ว ฉันพอทีกับความรัก

ทุ่มเทกี่ครั้ง ฉันก็ยังต้องผิดหวังกี่ทีกี่ครั้งที่เสียน้ำตา

เจ็บจนอ่อนล้าฉันช้ำเกินไปวิ่งตามแค่ไหนก็ได้เพียงเงา
กับความเหงาใจ… แค่เท่านั้น

ได้เจอกับเธอ ก็เริ่มเข้าใจในความรักคนที่บอบช้ำ ได้มาเจอกับความหวังจากสิ่งที่คิดว่ามันว่างเปล่า
ที่เราไขว่คว้าไม่เคยมีจริงเธอนำความรักแท้จริงเข้ามาผูกพันในหัวใจ…และวันนี้ฉันเปลี่ยนไป
ตั้งแต่เมื่อฉันรู้จัก และฉันได้มาพบเธอมันทำให้ฉันต้องเปลี่ยน เปลี่ยนแปลงหัวใจฉันไปได้เรียนรู้สิ่งใหม่
ที่ฉันไม่เคยพบเจอเพราะสำหรับฉันแต่ก่อน ความรักคือการคว้ามาแต่ในวันนี้ฉันเปลี่ยน
ความรักคือการให้ไปเพิ่งจะรู้และเข้าใจ เมื่อฉันได้มารักเธอ เพิ่งจะรู้และเข้าใจ เมื่อฉันได้มารักเธอ..