วันพฤหัสบดีที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2552

สัปดาห์ที่ 16 1 ก.ย. 52

1. บริการ บำรุง ซ่อม เครื่องคอมพิวเตอร์ในวิทยาลัย
2.อ่านคำศัพท์ภาษาอังกฤษเพื่อเป็นความรู้

วันอังคารที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2552

สัปดาห์ที่ 15 วันที่ 25 สิงหาคม 2552

อ่านส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์เป็นภาษาอังกฤษ
1.Hardware
2.Software
3.Peopleware
4.Procudure
5.Data

สัปดาห์ที่ 14 วันที่ 18 สิงหาคม 2552

1. ลงWindow ใหม่
2.ลง โปรแกรม Microsoft Office
3.ลงโปรแกรม Nod 32 Antiviruse

จำนวน 2 เครื่อง

สัปดาห์ที่ 13 วันที่ 11 สิงหาคม 2552

Present งานบริษัท
เรื่อง เมนบอร์ด เคส พาวเวอร์ซัพพลาย UPS

สัปดาห์ที่ 12 วันที่ 4 สิงหาคม 2552

แก้ไขงาน เรื่อง เมนบอร์ด เคส พาวเวอร์ซัพพลาย UPS

สัปดาห์ที่ 11 เมนบอร์ด เคส พาเวอซัพพลาย UPS

วันพุธที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

สัปดาห์ที่10 14/ก.ค./52 ทิศของเมนบอรด์และHarddisk



ทิศทางของเมนบอร์ด

วิธีสังเกตุMainboardว่าทางไหนทิศเหนือทางไหนทิศใต้แต่ละทิศทำหน้าที่อะไรโดยทั่วไปแล้ว Northbridge คือชิพที่ทำหน้าที่ควบคุมการติดต่อระหว่าง CPU, RAM, AGP หรือ PCI Express และ Southbridge(ยกเว้น CPU รุ่นใหม่ ๆ บางตัวที่รวมการทำงานบางส่วนเข้าไปใน CPU แล้ว)Northbridges บางตัวก็ฝัง Video controllers เข้าไปด้วยเลยซึ่งคือ "การ์ดจอออนบอร์ด" ที่มักจะเรียกกันบ่อยส่วน Southbridge คือชิพจัดการ input/output (I/O) เช่น USB, Serial, audio, Integrated Drive Electronics (IDE), PCI, ISA

ทิศเหนือ ( Northern Bridge )
จากแผนภาพข้างบนจะเห็นว่า อุปกรณ์ที่เข้ามาต่อกับ VT82C589AT โดยตรงได้แก่ Host Master หรือซีพียู (ในคอมพิวเตอร์ ถือว่าตัวที่ทำหน้าที่เป็นตัวหลักในการควบคุมการประมวลผลคือซีพียู) และ VGA Card หรือ AGP Card หน่วยความจำหลัก และหน่วยความจำแคช (Static RAM) และ Slot สำหรับต่ออุปกรณ์ต่างๆ ที่ต่อผ่าน PCI Bus ทั้งหมดนั้นต้องถูกควบคุมผ่านสะพานทิศเหนือ สังเกตได้ว่า Northern Bridge นั้นเป็น Chipset หลัก ที่ทำหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์หลักๆ ของคอมพิวเตอร์ การเรียกชื่อ Chipset นี้จะเรียกเป็นชื่อที่ผู้ผลิตตั้งขึ้นมาเอง อย่างเช่น VIA เรียก Chipset ข้างบนว่า MVP3 แต่ถ้าเป็นกรณีของ Intel จะเรียกเฉพาะชื่อย่อ ถ้าหากสังเกตที่ตัว Chipset จะมีโค๊ดหรือรหัสยาวหลายตัว เช่น FW82443LX แต่ Intel เรียกว่า 440LX เท่านั้น

ทิศใต้ ( Southern Bridge )
ควบคุมอุปกรณ์ต่อพ่วง (Peripheral Devices) Harddisk, CD-ROM Drive , USB และ ACPI Controller (ดูแผนภาพประกอบ) รวมทั้งควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ที่ต่อเชื่อมกับ ISA Bus ด้วย หน้าที่เพิ่มอีกอย่างหนึ่งของ Southern Bridge คือเป็นตัวควบคุม Power Management ControllersABIT IP35 PRO OFF LIMITS เป็นเมนบอร์ดที่รองรับการทำงานของซีพียูซ็อกเก็ต LGA775 สามารถรองรับการทำงานของซีพียูที่ใช้ FSB ตั้งแต่ 800MHz 1066MHz ไปจนถึง 1333MHz ซึ่งหมายความว่าซีพียูที่จะนำมาใช้กับเมนบอร์ดรุ่นนี้ก็จะต้องเป็นรุ่นที่ใหม่อยู่สักหน่อยเพราะต้องใช้ FSB ที่มีความเร็ว 800MHz ขึ้นไปทางด้านหน่วยความจำเมนบอร์ดรุ่นนี้ยังคงใช้หน่วยความจำแบบ DDR2 โดยรองรับหน่วยความจำได้สูงสุดถึง 8GB พร้อมทั้งรองรับการทำงานในแบบ Dual Channel สำหรับความเร็วของหน่วยความจำที่จะนำมาใช้กับเมนบอร์ดรุ่นนี้ก็เริ่มต้นที่ DDR2-667 และ DDR2-800ชิปเซต P35 ที่ใช้นั้นจะรองรับการทำงานของกราฟิกการ์ดแบบ CrossFire ด้วย และบนเมนบอร์ดรุ่นนี้ก็มีสล๊อต PCI-Express x16 มาให้ถึงสองช่อง เพื่อให้เราสามารถใส่กราฟิกการ์ดของ ATi ที่รองรับเทคโนโลยี CrossFire ได้ และถ้าสังเกตดูจะเห็นว่าระยะห่างของสล๊อต PCI-Express x16 ทั้งสองช่องก็มีการเว้นระยะไว้พอสมควร ทำให้สามารถติดตั้งกราฟิกการ์ดที่มีฮีตซิงค์ใหญ่ๆ ได้อย่างสบายชุดระบายความร้อนของเมนบอร์ดรุ่นนี้ก็ถือว่ามีมาอย่างครบสูตรไม่ว่าจะเป็นส่วนของชิปเซตทั้งนอร์ธบริดจ์เซาธ์บริดจ์และส่วนของภาคจ่ายไฟของซีพียู โดยเฉพาะฮีตซิงค์็ตรงชิปนอร์ธบริดจ์นั้นมีขนาดใหญ่โตพอสมควรทำให้เราไม่ต้องกังวลเรื่องความร้อนเมื่อทำการโอเวอร์คล๊อก FSB ไปที่ความเร็วสูงๆ เพราะเมื่อเราทำการปรับ FSB ไปสูงๆ นั้นเราก็อาจจะต้องทำการเพิ่มแรงดันให้กับชิปนอร์ธบริดจ์ด้วยเหมือนกันนอกเหนือไปจากคุณสมบัติที่เกี่ยวข้องกับการโอเวอร์คล็อกแล้ว เมนบอร์ดรุ่นนี้ก็ยังมีคุณสมบัติที่น่าสนใจอีกหลายอย่างเช่น มีพอร์ต LAN จำนวนสองช่อง มี eSATA จำนวนสองช่อง มีสวิตช์สำหรับเคลียร์ไบออสอยู่ทางด้านหลัง ซึ่งทำให้เราไม่ต้องเปิดฝาเคสเวลาที่ต้องการเคลียร์ค่าในไบออสเป็นต้นMainboard1. ชุดชิพเซ็ต ชุดชิพเซ็ตเป็นเสมือนหัวใจของเมนบอร์ดอีกที่หนึ่ง เนื่องจากอุปกรณ์ตัวนี้จะมีหน้าที่หลักเป็นเหมือนทั้ง อุปกรณ์ แปลภาษา ให้อุปกรณ์ต่างๆ ที่อยู่บนเมนบอร์ดสามารถทำงานร่วมกันได้ และทำหน้าที่ควบคุม อุปกรณ์ต่างๆ ให้ทำงานได้ตามต้องการ โดยชิพเซ็ตนั้นจะประกอบด้วยชิพเซ็ตนั้นจะประกอบไปด้วยชิพ 2 ตัว คือชิพ System Controller และชิพ PCI to ISA Bridge North Bridge เป็นชิพที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของ อุปกรณ์หลักๆ ความเร็วสูงชนิดต่างๆ บนเมนบอร์ดที่ประกอบด้วยซีพียู หน่วยความจำแคชระดับสอง (SRAM) หน่วยความจำหลัก (DRAM) ระบบกราฟิกบัสแบบ AGP และระบบบัสแบบ PCI South Bridge จะทำหน้าที่เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกันระหว่างระบบบัสแบบ PCI กับอุปกรณ์อื่นๆ ที่มีความเร็วในการทำงานต่ำกว่าเช่นระบบบัสแบบ ISA ระบบบัสอนุกรมแบบ USB ชิพคอนโทรลเลอร์ IDE ชิพหน่วยความจำรอมไออส ฟล็อบปี้ดิกส์ คีย์บอร์ด พอร์ตอนุกรม และพอร์ตขนาน 2. หน่วยความจำรอมไบออส และแบตเตอรรี่แบ็คอัพไบออส BIOS (Basic Input Output System) หรืออาจเรียกว่าซีมอส (CMOS) เป็นชิพหน่วยความจำชนิด หนึ่งที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูล และโปรแกรมขนาดเล็กที่จำเป็นต่อการบูตของระบบคอมพิวเตอร์ ต้องการพลังงานไฟฟ้าเพื่อรักษาข้อมูลไว้ แบตเตอรี่แบ็คอัพ เมื่อแบตเตอรี่แบ็คอัพเสื่อม หรือหมดอายุแล้วจะทำให้ข้อมูลที่คุณเซ็ตไว้ เช่น วันที่ จะหายไปกลายเป็นค่าพื้นฐานจากโรงงาน และก็ต้องทำการเซ้ตใหม่ทุกครั้งที่เปิดเครื่อง3. หน่วยความจำแคชระดับสอง หน่วยความจำแคชระดับสอง เป็นอุปกรณ์ ตัวหนึ่งที่ทำหน้าเป็นเสมือนหน่วยความจำ บัฟเฟอร์ให้กับซีพียู โดยใช้หลักการที่ว่า การทำงานร่วมกับอุปกร์ที่ความเร็วสูงกว่า จะทำให้เสียเวลาไปกับการรอคอยให้อุปกรณ์ ที่มีความเร็วต่ำ ทำงานจนเสร็จสิ้นลง เพราะซีพียูมีความเร็วในการทำงานสูงมาก การที่ซีพียูต้องการข้อมูล ซักชุดหนึ่งเพื่อนำไปประมวลผลถ้าไม่มีหน่วยความจำแคช
เมนบอร์ดแบบรวม หมายถึง เมนบอร์ดที่มีการรวม Integrate หรือรวม Controller ต่างๆไว้ในตัวเมนบอร์ดชุดเดียวกันหรือที่เรียกว่า o­n Board เช่น การ์ดเสียง หรือ Display Adapter ที่อยู่บนตัวบอร์ดเองมักจะเรียกกันว่า เมนบอร์ดแบบ All in o­ne เมนบอร์ดแบบแยก หมายถึง เมนบอร์ดที่มีเพียง Chipset อยู่บนเมนบอร์ดเท่านั้น จะทำงานได้ก็ต่อเมื่อมีการเสียบอุปกรณ์อื่นคือ Integrate หรือ Controller ที่อยู่ในรูปของการ์ด เข้าไปในช่อง Slot บนเมนบอร์ดเช่น การ์ดจอที่ต้องใส่ลงไปใน AGP Slot หรือการใส่การ์ดเสียงลงใน Slot Sound Card
hard disk
ฮาร์ดดิสก์ (hard disk) หรือ จานบันทึกแบบแข็ง (ศัพท์บัญญัติ) คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน การติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับมาเธอร์บอร์ด(motherboard) ที่มีอินเตอร์เฟชแบบขนาน (PATA) , แบบอนุกรม (SATA) และแบบเล็ก (SCSI) ทั้งยังสามารถต่อเข้าเครื่องจากภายนอกได้ผ่านทางสายยูเอสบี, สายไฟร์ไวร์ของบริษัท Apple ที่เป็นที่รู้จักน้อยกว่า รวมไปถึงอินเตอร์เฟซอนุกรมแบบต่อนอก (eSATA) ซึ่งทำให้การใช้ฮาร์ดดิสก์ทำได้สะดวกยิ่งขึ้นเมื่อไม่มีคอมพิวเตอร์ถาวรเป็นของตนเอง
- ขนาดความหนาขนาดความหนา 3.5 นิ้ว = 4 นิ้ว×1 นิ้ว×5.75 นิ้ว (101.6 มิลลิเมตร×25.4 มิลลิเมตร×146 มิลลิเมตร) = 376.77344cm³เป็นฮาร์ดดิสก์ สำหรับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ desktop pc หรือคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ server ความเร็วในการหมุนจาน 10,000 7,200 5,400 RPM ตามลำดับ โดยมีความจุในปัจจุบันตั้งแต่ 80 GB ถึง 1 TB
- ขนาดความหนา 2.5 = 2.75 นิ้ว× 0.374–0.59 นิ้ว×3.945 นิ้ว (69.85 มิลลิเมตร×9.5–15 มิลลิเมตร×100 มิลลิเมตร) = 66.3575cm³-104.775cm³นิ้วเป็นฮาร์ดดิสก์ สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา notebook , Laptop ,UMPC,Netbook, อุปกรณ์มัลติมีเดียพกพา ความเร็วในการหมุนจาน 5,400 RPM โดยมีความจุในปัจจุบันตั้งแต่ 60 GB ถึง 320 GB
การเก็บข้อมูล ข้อมูลที่เก็บลงในฮาร์ดดิสก์จะอยู่บนเซกเตอร์และแทร็ก แทร็กเป็นรูปวงกลม ส่วนเซกเตอร์เป็นเสี้ยวหนึ่งของวงกลม อยู่ภายในแทร็กดังรูป แทร็กแสดงด้วยสีเหลือง ส่วนเซกเตอร์แสดงด้วยสีแดง ภายในเซกเตอร์จะมีจำนวนไบต์คงที่ ยกตัวอย่างเช่น 256 ถึง 512 ขึ้นอยู่กับว่าระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์จะจัดการแบ่งในลักษณะใด เซกเตอร์หลายๆ เซกเตอร์รวมกันเรียกว่า คลัสเตอร์ (Clusters) ขั้นตอน ฟอร์แมต ที่เรียกว่า การฟอร์แมตระดับต่ำ (Low -level format ) เป็นการสร้างแทร็กและเซกเตอร์ใหม่ ส่วนการฟอร์แมตระดับสูง (High-level format) ไม่ได้ไปยุ่งกับแทร็กหรือเซกเตอร์ แต่เป็นการเขียน FAT ซึ่งเป็นการเตรียมดิสก์เพื่อที่เก็บข้อมูลเท่านั้นทิศทางของเมนบอร์ด

วิธีสังเกตุMainboardว่าทางไหนทิศเหนือทางไหนทิศใต้แต่ละทิศทำหน้าที่อะไรโดยทั่วไปแล้ว Northbridge คือชิพที่ทำหน้าที่ควบคุมการติดต่อระหว่าง CPU, RAM, AGP หรือ PCI Express และ Southbridge(ยกเว้น CPU รุ่นใหม่ ๆ บางตัวที่รวมการทำงานบางส่วนเข้าไปใน CPU แล้ว)Northbridges บางตัวก็ฝัง Video controllers เข้าไปด้วยเลยซึ่งคือ "การ์ดจอออนบอร์ด" ที่มักจะเรียกกันบ่อยส่วน Southbridge คือชิพจัดการ input/output (I/O) เช่น USB, Serial, audio, Integrated Drive Electronics (IDE), PCI, ISA

ทิศเหนือ ( Northern Bridge )
จากแผนภาพข้างบนจะเห็นว่า อุปกรณ์ที่เข้ามาต่อกับ VT82C589AT โดยตรงได้แก่ Host Master หรือซีพียู (ในคอมพิวเตอร์ ถือว่าตัวที่ทำหน้าที่เป็นตัวหลักในการควบคุมการประมวลผลคือซีพียู) และ VGA Card หรือ AGP Card หน่วยความจำหลัก และหน่วยความจำแคช (Static RAM) และ Slot สำหรับต่ออุปกรณ์ต่างๆ ที่ต่อผ่าน PCI Bus ทั้งหมดนั้นต้องถูกควบคุมผ่านสะพานทิศเหนือ สังเกตได้ว่า Northern Bridge นั้นเป็น Chipset หลัก ที่ทำหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์หลักๆ ของคอมพิวเตอร์ การเรียกชื่อ Chipset นี้จะเรียกเป็นชื่อที่ผู้ผลิตตั้งขึ้นมาเอง อย่างเช่น VIA เรียก Chipset ข้างบนว่า MVP3 แต่ถ้าเป็นกรณีของ Intel จะเรียกเฉพาะชื่อย่อ ถ้าหากสังเกตที่ตัว Chipset จะมีโค๊ดหรือรหัสยาวหลายตัว เช่น FW82443LX แต่ Intel เรียกว่า 440LX เท่านั้น

ทิศใต้ ( Southern Bridge )
ควบคุมอุปกรณ์ต่อพ่วง (Peripheral Devices) Harddisk, CD-ROM Drive , USB และ ACPI Controller (ดูแผนภาพประกอบ) รวมทั้งควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ที่ต่อเชื่อมกับ ISA Bus ด้วย หน้าที่เพิ่มอีกอย่างหนึ่งของ Southern Bridge คือเป็นตัวควบคุม Power Management ControllersABIT IP35 PRO OFF LIMITS เป็นเมนบอร์ดที่รองรับการทำงานของซีพียูซ็อกเก็ต LGA775 สามารถรองรับการทำงานของซีพียูที่ใช้ FSB ตั้งแต่ 800MHz 1066MHz ไปจนถึง 1333MHz ซึ่งหมายความว่าซีพียูที่จะนำมาใช้กับเมนบอร์ดรุ่นนี้ก็จะต้องเป็นรุ่นที่ใหม่อยู่สักหน่อยเพราะต้องใช้ FSB ที่มีความเร็ว 800MHz ขึ้นไปทางด้านหน่วยความจำเมนบอร์ดรุ่นนี้ยังคงใช้หน่วยความจำแบบ DDR2 โดยรองรับหน่วยความจำได้สูงสุดถึง 8GB พร้อมทั้งรองรับการทำงานในแบบ Dual Channel สำหรับความเร็วของหน่วยความจำที่จะนำมาใช้กับเมนบอร์ดรุ่นนี้ก็เริ่มต้นที่ DDR2-667 และ DDR2-800ชิปเซต P35 ที่ใช้นั้นจะรองรับการทำงานของกราฟิกการ์ดแบบ CrossFire ด้วย และบนเมนบอร์ดรุ่นนี้ก็มีสล๊อต PCI-Express x16 มาให้ถึงสองช่อง เพื่อให้เราสามารถใส่กราฟิกการ์ดของ ATi ที่รองรับเทคโนโลยี CrossFire ได้ และถ้าสังเกตดูจะเห็นว่าระยะห่างของสล๊อต PCI-Express x16 ทั้งสองช่องก็มีการเว้นระยะไว้พอสมควร ทำให้สามารถติดตั้งกราฟิกการ์ดที่มีฮีตซิงค์ใหญ่ๆ ได้อย่างสบายชุดระบายความร้อนของเมนบอร์ดรุ่นนี้ก็ถือว่ามีมาอย่างครบสูตรไม่ว่าจะเป็นส่วนของชิปเซตทั้งนอร์ธบริดจ์เซาธ์บริดจ์และส่วนของภาคจ่ายไฟของซีพียู โดยเฉพาะฮีตซิงค์็ตรงชิปนอร์ธบริดจ์นั้นมีขนาดใหญ่โตพอสมควรทำให้เราไม่ต้องกังวลเรื่องความร้อนเมื่อทำการโอเวอร์คล๊อก FSB ไปที่ความเร็วสูงๆ เพราะเมื่อเราทำการปรับ FSB ไปสูงๆ นั้นเราก็อาจจะต้องทำการเพิ่มแรงดันให้กับชิปนอร์ธบริดจ์ด้วยเหมือนกันนอกเหนือไปจากคุณสมบัติที่เกี่ยวข้องกับการโอเวอร์คล็อกแล้ว เมนบอร์ดรุ่นนี้ก็ยังมีคุณสมบัติที่น่าสนใจอีกหลายอย่างเช่น มีพอร์ต LAN จำนวนสองช่อง มี eSATA จำนวนสองช่อง มีสวิตช์สำหรับเคลียร์ไบออสอยู่ทางด้านหลัง ซึ่งทำให้เราไม่ต้องเปิดฝาเคสเวลาที่ต้องการเคลียร์ค่าในไบออสเป็นต้นMainboard1. ชุดชิพเซ็ต ชุดชิพเซ็ตเป็นเสมือนหัวใจของเมนบอร์ดอีกที่หนึ่ง เนื่องจากอุปกรณ์ตัวนี้จะมีหน้าที่หลักเป็นเหมือนทั้ง อุปกรณ์ แปลภาษา ให้อุปกรณ์ต่างๆ ที่อยู่บนเมนบอร์ดสามารถทำงานร่วมกันได้ และทำหน้าที่ควบคุม อุปกรณ์ต่างๆ ให้ทำงานได้ตามต้องการ โดยชิพเซ็ตนั้นจะประกอบด้วยชิพเซ็ตนั้นจะประกอบไปด้วยชิพ 2 ตัว คือชิพ System Controller และชิพ PCI to ISA Bridge North Bridge เป็นชิพที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของ อุปกรณ์หลักๆ ความเร็วสูงชนิดต่างๆ บนเมนบอร์ดที่ประกอบด้วยซีพียู หน่วยความจำแคชระดับสอง (SRAM) หน่วยความจำหลัก (DRAM) ระบบกราฟิกบัสแบบ AGP และระบบบัสแบบ PCI South Bridge จะทำหน้าที่เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกันระหว่างระบบบัสแบบ PCI กับอุปกรณ์อื่นๆ ที่มีความเร็วในการทำงานต่ำกว่าเช่นระบบบัสแบบ ISA ระบบบัสอนุกรมแบบ USB ชิพคอนโทรลเลอร์ IDE ชิพหน่วยความจำรอมไออส ฟล็อบปี้ดิกส์ คีย์บอร์ด พอร์ตอนุกรม และพอร์ตขนาน 2. หน่วยความจำรอมไบออส และแบตเตอรรี่แบ็คอัพไบออส BIOS (Basic Input Output System) หรืออาจเรียกว่าซีมอส (CMOS) เป็นชิพหน่วยความจำชนิด หนึ่งที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูล และโปรแกรมขนาดเล็กที่จำเป็นต่อการบูตของระบบคอมพิวเตอร์ ต้องการพลังงานไฟฟ้าเพื่อรักษาข้อมูลไว้ แบตเตอรี่แบ็คอัพ เมื่อแบตเตอรี่แบ็คอัพเสื่อม หรือหมดอายุแล้วจะทำให้ข้อมูลที่คุณเซ็ตไว้ เช่น วันที่ จะหายไปกลายเป็นค่าพื้นฐานจากโรงงาน และก็ต้องทำการเซ้ตใหม่ทุกครั้งที่เปิดเครื่อง3. หน่วยความจำแคชระดับสอง หน่วยความจำแคชระดับสอง เป็นอุปกรณ์ ตัวหนึ่งที่ทำหน้าเป็นเสมือนหน่วยความจำ บัฟเฟอร์ให้กับซีพียู โดยใช้หลักการที่ว่า การทำงานร่วมกับอุปกร์ที่ความเร็วสูงกว่า จะทำให้เสียเวลาไปกับการรอคอยให้อุปกรณ์ ที่มีความเร็วต่ำ ทำงานจนเสร็จสิ้นลง เพราะซีพียูมีความเร็วในการทำงานสูงมาก การที่ซีพียูต้องการข้อมูล ซักชุดหนึ่งเพื่อนำไปประมวลผลถ้าไม่มีหน่วยความจำแคช
เมนบอร์ดแบบรวม หมายถึง เมนบอร์ดที่มีการรวม Integrate หรือรวม Controller ต่างๆไว้ในตัวเมนบอร์ดชุดเดียวกันหรือที่เรียกว่า o­n Board เช่น การ์ดเสียง หรือ Display Adapter ที่อยู่บนตัวบอร์ดเองมักจะเรียกกันว่า เมนบอร์ดแบบ All in o­ne เมนบอร์ดแบบแยก หมายถึง เมนบอร์ดที่มีเพียง Chipset อยู่บนเมนบอร์ดเท่านั้น จะทำงานได้ก็ต่อเมื่อมีการเสียบอุปกรณ์อื่นคือ Integrate หรือ Controller ที่อยู่ในรูปของการ์ด เข้าไปในช่อง Slot บนเมนบอร์ดเช่น การ์ดจอที่ต้องใส่ลงไปใน AGP Slot หรือการใส่การ์ดเสียงลงใน Slot Sound Card
hard disk
ฮาร์ดดิสก์ (hard disk) หรือ จานบันทึกแบบแข็ง (ศัพท์บัญญัติ) คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน การติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับมาเธอร์บอร์ด(motherboard) ที่มีอินเตอร์เฟชแบบขนาน (PATA) , แบบอนุกรม (SATA) และแบบเล็ก (SCSI) ทั้งยังสามารถต่อเข้าเครื่องจากภายนอกได้ผ่านทางสายยูเอสบี, สายไฟร์ไวร์ของบริษัท Apple ที่เป็นที่รู้จักน้อยกว่า รวมไปถึงอินเตอร์เฟซอนุกรมแบบต่อนอก (eSATA) ซึ่งทำให้การใช้ฮาร์ดดิสก์ทำได้สะดวกยิ่งขึ้นเมื่อไม่มีคอมพิวเตอร์ถาวรเป็นของตนเอง
- ขนาดความหนาขนาดความหนา 3.5 นิ้ว = 4 นิ้ว×1 นิ้ว×5.75 นิ้ว (101.6 มิลลิเมตร×25.4 มิลลิเมตร×146 มิลลิเมตร) = 376.77344cm³เป็นฮาร์ดดิสก์ สำหรับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ desktop pc หรือคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ server ความเร็วในการหมุนจาน 10,000 7,200 5,400 RPM ตามลำดับ โดยมีความจุในปัจจุบันตั้งแต่ 80 GB ถึง 1 TB
- ขนาดความหนา 2.5 = 2.75 นิ้ว× 0.374–0.59 นิ้ว×3.945 นิ้ว (69.85 มิลลิเมตร×9.5–15 มิลลิเมตร×100 มิลลิเมตร) = 66.3575cm³-104.775cm³นิ้วเป็นฮาร์ดดิสก์ สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา notebook , Laptop ,UMPC,Netbook, อุปกรณ์มัลติมีเดียพกพา ความเร็วในการหมุนจาน 5,400 RPM โดยมีความจุในปัจจุบันตั้งแต่ 60 GB ถึง 320 GB
การเก็บข้อมูล ข้อมูลที่เก็บลงในฮาร์ดดิสก์จะอยู่บนเซกเตอร์และแทร็ก แทร็กเป็นรูปวงกลม ส่วนเซกเตอร์เป็นเสี้ยวหนึ่งของวงกลม อยู่ภายในแทร็กดังรูป แทร็กแสดงด้วยสีเหลือง ส่วนเซกเตอร์แสดงด้วยสีแดง ภายในเซกเตอร์จะมีจำนวนไบต์คงที่ ยกตัวอย่างเช่น 256 ถึง 512 ขึ้นอยู่กับว่าระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์จะจัดการแบ่งในลักษณะใด เซกเตอร์หลายๆ เซกเตอร์รวมกันเรียกว่า คลัสเตอร์ (Clusters) ขั้นตอน ฟอร์แมต ที่เรียกว่า การฟอร์แมตระดับต่ำ (Low -level format ) เป็นการสร้างแทร็กและเซกเตอร์ใหม่ ส่วนการฟอร์แมตระดับสูง (High-level format) ไม่ได้ไปยุ่งกับแทร็กหรือเซกเตอร์ แต่เป็นการเขียน FAT ซึ่งเป็นการเตรียมดิสก์เพื่อที่เก็บข้อมูลเท่านั้น